ติดตาม YouTube ของโรงเรียนรับชม VDO การสอนดีๆ
กดเลย
http://bit.ly/38qoav0
หลายคนคงเคยได้ยินช่างพูดว่
ปั้มดาวน์หรือเก็บน้ำยา
ถ้าใครไม่ได้เป็นช่างคงสงสัยว่าคืออะไร ทำไปทำไม
ก่อนอื่นผมข้อเรียกการปั้มดาวน์ว่าการเก็บน้ำยาแล้วกันนะครับ
การเก็บน้ำยาคือ
ถ้าใครไม่ได้เป็นช่างคงสงสั
ก่อนอื่นผมข้อเรียกการปั้มด
การเก็บน้ำยาคือ
การดึงน้ำยาที่มีในระบบกลับมาเก็บไว้ในคอยล์ร้อน
โดยจะให้ตัวคอมเพรสเซอร์เป็นตัวดูดน้ำยากลับมาเก็บไว้
แล้วทำการปิดตัวสตอปวาล์วไม่ให้น้ำยาไหลออกจากคอยล์ร้อน
ปกติแล้วช่างบางคนจะนิยมทำเวลาย้ายแอร์,
ซ่อมเปลี่ยนคอยล์เย็น, เปลี่ยนไส้ศร
หรือไม่ก็ต้องการเชื่อมบริเวณคอยล์เย็น
โดยจะให้ตัวคอมเพรสเซอร์เป็
แล้วทำการปิดตัวสตอปวาล์วไม
ปกติแล้วช่างบางคนจะนิยมทำเ
ซ่อมเปลี่ยนคอยล์เย็น, เปลี่ยนไส้ศร
หรือไม่ก็ต้องการเชื่อมบริเ
อย่าเก็บน้ำยาแล้วไปเชื่อมคอยล์ร้อยนะ
“ระเบิดนะครับ”
อันนี้บรรดาช่างน่าจะเข้าใจ
ทีนี้เรามาพูดถึงข้อดีข้อเส
ว่าทำแล้วมันดียังไงทำไมช่า
ข้อดี
การเก็บน้ำยาช่วยลดต้นทุนคร
เมื่อไม่ต้องปล่อยน้ำยาทิ้ง
ทำให้ลดต้นทุนของลูกค้าและช
เวลาเราซื้อแอร์ใหม่มา
ส่วนใหญ่ผู้ผลิตก็จะเติมน้ำ
ภายในคอล์ยร้อน (แอร์ตัวนอกบ้าน)
ดังนั้นกรณีที่ย้ายแอร์
ช่างก็จะเก็บน้ำยาไว้ในคอยล
เวลาย้ายไปติดตั้งให้ลูกค้า
ก็จะทำลักษณะเดียวกับการติด
เลยช่วยลดต้นทุนของช่างได้
ข้อเสีย
อันนี้ต้องดูที่สภาพของคอยล
ถ้าคอยล์ร้อนของลูกค้ามีสภา
ไม่อยากให้เก็บน้ำยาเท่าไหร
เพราะกลัวว่าจะทำให้คอยล์ร้
กลายเป็นว่าต้องซ่อมรั่วกัน
อีกกรณีก็คือ “อันตราย” ครับ
การเก็บน้ำยาไว้ที่คอล์ยร้อ
มีโอกาสทำให้คอมเพรสเซอร์แอ
ถ้าช่างขาดความชำนาญและการป
ไม่ค่อยแนะนำให้ทำเท่าไร
ถ้าจะย้ายแอร์เอางานปลอดภัยจริง ๆ
แนะนำให้ปล่อยน้ำยาออก แล้วข้นย้ายดีกว่าครับ
สรุป คือ การเก็บน้ำยา “ทำได้” นะ
แต่ต้องใช้ความรอบคอบ และระมัดระวัง
เรียบเรียงเนื้อหาโดย : แผนกวิชาการ
สนใจเรียนโทร : 081-407-6084 , 02-894-3133-5
#โรงเรียนศูนย์ฝึกวิชาชีพระ
#แอร์บ้าน#สอนซ่อมแอร์#สอนล้างแอร์
#สอนติดตั้งแอร์#สอนช่างแอร์#ล้างแอร์
#ช่างแอร์#ช่างแอร์บ้าน#งานท่อทองแดง
#ซ่อมแอร์#ติดตั้งแอร์#น้ำยาแอร์